An Unbiased View of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

วิกฤตการเรียนรู้: เรียนไปแต่ใช้ไม่ได้ และ (ได้) เรียนน้อยแต่เจ็บมาก

สำรวจข้อจำกัดและสัมผัสการทำงานในพื้นที่จริง

นอกจาก “รายได้” แล้ว “สถานภาพครอบครัว”

นอกจากปัญหาเรื่องความรู้และคุณวุฒิการศึกษาของครูที่ต้องการแนวนโยบายการแก้ไปขปัญหาที่ต่อเนื่องและยั่งยืนแล้ว ครูนกมองว่าสิ่งที่จะทำให้ปัญหาถูกแก้ไขได้ตรงความต้องการ และยั่งยืน ต้องเริ่มจากวิสัยทัศน์ของคนทำงาน มีการวางแผนยุทธการที่มีความต่อเนื่องในการดำเนินงานแม้มีการเปลี่ยนผ่านผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชา/บุคลากรในโรงเรียน และมีนโยบายที่สามารถแก้ปัญหาของคนทำงานได้จริง จะทำให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานไปได้อย่างราบรื่นเห็นเป้าหมายการพัฒนาที่ชัดเจนโดยให้ผลงานการดำเนินงานเป็นเครื่องพิสูจน์

This cookie is set by Doubleclick and carries out information regarding how the top person utilizes the website and any marketing the close person may have observed ahead of traveling to the said Web site.

Effectiveness cookies are utilised to grasp and examine The important thing overall performance indexes of the web site which will help in delivering a better person expertise for your visitors. Analytics Analytics

ผู้ว่าราชการท่านมาแล้วก็ไป สุดท้ายคนที่จะต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาร่วมกันก็ต้องเป็นคนในจังหวัดนั้นๆ”

ไม่ว่าจะประเทศไหน เชื้อชาติใด หรือมาจากชนชั้นใด ทุกคนล้วนมีความหวังและศรัทธาในพลังของการศึกษาที่จะช่วยเปลี่ยนชีวิต พ่อแม่และผู้ปกครองจำนวนมากพยายามส่งลูกเรียนให้จบ หรือเรียนให้สูงที่สุดเท่าที่จะทำได้ แม้ตนเองจะไม่เคยเข้าโรงเรียนก็ตามที

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

เรียนรู้วิชาชีพจากองค์ความรู้ภายในชุมชน

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในระดับนานาชาติ:

เด็ก ๆ ที่โรงเรียน เป็นเด็กที่บริสุทธิ์ ไร้เดียงสา น่ารักเฉพาะตัว ไม่ได้ใช้มากเกินไป มีความน่ารัก ยังไม่ค่อยมีพฤติกรรมเลียนแบบจากโซเชียลมีเดียเท่าไหร่นัก แต่ถ้ามองถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่อินเตอร์เน็ตจะเข้ามาเปลี่ยนแปลงความใสซื่อหรือไม่ ครูอุ้ยก็มีความกังวลเล็กน้อย แต่ก็ไม่สามารถห้ามสิ่งที่จะเกิดในอนาคตได้ ได้เพียงแต่หาทางสร้างความเข้าใจและสร้างภูมิคุ้มกันความรู้เท่าทันโลกอินเตอร์เน็ตและโซเชียลมีเดียน่าจะเป็นวิธีการที่ดีที่สุด เด็ก ๆ มีความฉลาดรู้และเท่าทันสื่อต่าง ๆก็จะเติบโตและแยกแยะสิ่งที่ดีหรือไม่ดีด้วยตนเองได้ ครูอุ้ยเล่าให้เราฟังด้วยน้ำเสียงมั่นใจ

ครอบครัวเปรียบเสมือนทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการให้ความสำคัญกับการศึกษา โดยครอบครัวที่มีการดูแลเอาใจใส่ และเลี้ยงดูบุตรหลานมาอย่างมีคุณภาพ มักมีการส่งเสริม หรือแสวงหาโอกาสทางการศึกษาที่ดีให้ลูกหลาน ในทางตรงกันข้าม หากครอบครัวใดที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษา หรือไม่ได้ใส่ใจบุตรหลานมากเพียงพอ อาจมีแนวโน้มว่าบุตรหลานจะไม่ใส่ใจ และไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษา ดังนั้น การที่เด็กแต่ละคนเติบโตมาในสภาพสังคม ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจได้รับการขัดเกลาทางสังคมในด้านการให้ความสำคัญกับการศึกษาที่แตกต่างกัน

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการให้ไปกับเรา  

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “An Unbiased View of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา”

Leave a Reply

Gravatar